Category Archives: SharePoint Online

Office 365 is coming to SharePoint.in.TH

หลังจากที่ SharePoint.in.TH อายุครบ 5 ขวบปี ไปหนึ่งเดือนนิดๆ ผมก็คิดว่าจะลองย้ายข้อมูลบางส่วน เช่น Blog ไปใช้ความสามารถของ Office 365, SharePoint Online Public Facing ดูหน่อย

แอบให้ดูหน้า Setting

SharePointInTH_O365

Powered_by_O365

หน้าตาสุดท้ายจะเป็นยังไงไว้มาลุ้นกัน

วันนี้มาเร็วไปเร็ว

สวัสดีครับ

 

ปล. เผื่อว่าใครใจร้อน ลองคลิ๊กเลย

logoSharePointInTH

LinkedInFlipboardEmailOutlook.comPrintFriendlyWhatsAppYahoo BookmarksYahoo MessengerKindle ItGoogle BookmarksBaiduDeliciousShare

Exchange & SharePoint 2013 – Together Better.

ผ่านไปอีกหนึ่งงาน สำหรับงานสัมมนาดีๆ ที่จัดโดย MVPSkill.com  งานนี้ SharePoint.in.TH ก็ได้ไปแชร์ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานร่วมกันระหว่าง Exchange Server (แน่นอน เพราะเป็นงาน Exchange นี่นา) ทำงานร่วมกับ SharePoint Server แล้วจะมีความสามารถอะไรเพิ่มเติมขึ้นมาบ้าง

เนื้อหาโดยสรุป (ตัดส่วนไร้สาระออกไปแล้ว และบางอย่างไม่ได้อยู่ใน slide) ได้แก่

  • Site Mailboxes เป็นการเพิ่มอำนาจในการบริหารจัดการแก่ Power User ที่ใช้งาน SharePoint ให้สามารถสร้าง mailboxes ขึ้นมาใหม่สำหรับใช้งานร่วมกันระหว่าง members ของ Team Site
  • ความแตกต่างของ Site Mailboxes  กับ Public Folder (ในมุมมองของ IT Pro) คือ Public Folder ตัวอีเมล และเอกสาร (แนบที่ใช้กันใน โปรเจค) จะถูกเก็บอยู่บน Database ของ Exchange. แต่ Site Mailbox ตัวอีกเมล์จะเก็บน Exchange แต่ เอกสารจะเก็บบน SharePoint (เป็นการกระจายโหลด แบบหนึ่ง)
  • เพิ่มความสะดวกในการจัดการ Mailbox ของ สมาชิกในทีมโปรเจค และ สำหรับสมาชิกที่เพิ่งถูกดึงเข้ามาในโปรเจค เพราะ อีเมล์ในโปรเจค ถูกเก็บในทีเดียวกัน คือ Site mailbox.
  • รองรับการการใช้งาน eDiscovery Feature
  • eDiscovery Site Collection เป็นการเพิ่มความสะดวกสบายและให้อำนาจแก่ พนักงานในองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น แผนกตรวจสอบภายใน แผนกกฏหมาย แผนกทรัพย์สินทางปัญญา ในการตรวจสอบข้อมูล ที่อยู่ใน mailbox, site บน SharePoint.
  • eDiscovery ไม่ใช่ของใหม่เอี่ยม ถ้ามองย้อนกลับไปที่ SharePoint 2010 จะมี Record Center ที่สามารถทำได้คล้ายๆ แต่ขอบเขตจะถูกจำกัดที่ Site ของตัวเองเท่านั้น
  • นอกจากแผนกที่เกี่ยวข้องทางกฏหมายจะทำงานได้ง่ายขึ้น เข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นต่อการดำเนินการทางกฎหมายได้ง่ายขึ้น แผนกอื่นๆ ยังสามารถใช้ประโยชน์นี้ในงานตัวเองเช่นกันเช่น การค้นหา ข้อมูลอีเมล์ หรือเอกสาร (ที่อยู่บน SharePoint) เก่าๆ ของโปรเจคที่ผ่านมา เป็นต้น
  • ลดความยุ่งยากของไอที ในการที่บริหารจัดการ สืบคืนข้อมูล รวมถึงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรับมือเหตุการณ์ที่ พนักงานในองค์กรจะกระทำผิดกฎบริษัทได้
  • อย่างไรก็ตามต้องมีนโยบายในการบริหารจัดการด้วย เช่น การทำการอบรมหรือแจ้งให้ผู้ใช้ทราบเกี่ยวกับนโยบาย ICT ขององค์กร และใช้งานอย่างมี จริยธรรมทางวิชาชีพ (Professional Ethic)
  • Skye drive ด้วยการทำงานพื้นฐานไม่แต่ต่างจาก cloud storage อื่นๆ แต่ความได้เปรียบคือ การทำงานร่วมกันของพนักงานองค์กรที่มี SharePoint 2013 อยู่แล้ว

 



 

ภาพรวม ดูคนฟัง (ที่ส่วนใหญ่เป็น IT Pro) นิ่งๆไป ไม่ค่อยแน่ใจว่า กำลังอึ้ง หรือว่างงตั้งแต่ SharePoint แล้ว เพราะจากการสอบถามเบื้องต้น ยังไม่ค่อยได้ยุ่งกับ SharePoint เท่าไหร่ จนเริ่มสงสัยว่า SharePoint เป็นโปรดัก ซับซ้อนเกินไป หรือว่าบริษัทส่วนใหญ่ในไทย ยังไม่ได้ความสำคัญเกี่ยวกับ Collaboration ในองค์กรเท่าไรนัก

เจอกันอีกครั้งนะครับ งาน Power shell Day : Demo fest. วันที่ 1 มีนาคม 2014  ติดตามข่าวสารกันให้ดีๆนะครับผม

สวัสดีครับ

ปล  ซักกลางๆ ปีอยากมีงานที่ SharePoint เป็นพระเอกบ้าง อยากหาคนสนใจมาร่วมแบ่งปัญประสบการณ์มาแชร์กัน ใครสนใจหลังไมค์มาได้เลยนะครับ

LinkedInFlipboardEmailOutlook.comPrintFriendlyWhatsAppYahoo BookmarksYahoo MessengerKindle ItGoogle BookmarksBaiduDeliciousShare

สร้าง Web Site ง่ายๆ ด้วย SharePoint Online – ตอนที่หนึ่ง setup ล้วนๆ

มาถึงของดอง เขียนค้างๆไว้ เพิ่งมีเวลาเอามาลง ฮิๆๆ  เมื่อเราพูดถึง SharePoint เรามักจะนึกถึง การใช้งาน ภายในองค์กร ที่ก่อนใช้งานจะต้องมีการ Log in ด้วย user ของบริษัท ใช่มั๊ยครับ แต่จริงๆ แล้ว เราสามารถใช้ SharePoint ทำเป็นเว็บไซต์ ให้คนทั่วไป
วันนี้ผมจะมาพูดถึงวิธี การสร้างเว็บ ด้วย Domain ของคุณเอง ด้วย SharePoint Online

สิ่งที่จะต้องมีก่อนนะครับ

  1. Domain เช่น ของผมเป็น sharepoint.in.th
  2. Account Office 365 ที่ใช้งาน SharePoint ได้
  3. สิทธิ์ในระดับ Global Administrator

 

ส่วนขั้นตอนต่างๆ  โดยสรุปก็จะเป็นดังนี้

  1. Verify Domain Name
  2. Create/ Mapped public facing website
  3. Update Website & Make it available

 

Verify Domain Name

ถ้าหาเราต้องการใช้ Domain name กับ office 365 เราต้องมาที่ Office 365 Admin Center แล้วเลือก Domains

image

จากนั้นให้กด Add Domain เราจะเห็นหน้าจอแบบนี้ ให้คลิ๊ก Start step 1

image

กรอก domain ของเราลงไป ตรงนี้ครับ ถ้าเรามีการใช้งานบริการอื่นๆเช่น Exchange Online, Lync Online ให้กรอกเป็น domain ลงไปครับ

หรือถ้ายังไม่มี Microsoft ก็แนะนำให้ซื้อกับ GoDaddy เพื่อความสะดวกในการ setup ต่อไป แต่ผมซื้อไว้แล้วผมก็กรอกเลย

image

ระบบก็จะให้เราแก้ไขค่า DNS บน Domain ของเราเพื่อยืนยันว่า เราเป็นเข้าของ Domain นั้นจริงๆ คับ แถมยังมี template ให้เราส่งไปหาผู้ให้บริการด้วย หน้าตาเป็นแบบนี้

image

หลังจากที่เราเข้าไปแก้ไข DNS แล้ว ปกติ จะต้องรอ 12-48 ชั่วโมงนะครับ (ระยะเวลารอคอยแล้วแต่ครับแต่ไม่เกินไปกว่านี้) เราก็กลับเข้ามากด “done, verify now”

image

 

…. เวลาผ่านไปไว เหมือนโกหก …..

 

image

 

เย้…. ยังครับยังไม่จบ

ต่อไปจะเป็นการ Add User เข้า Domain ซึ่ง ผมจะ บอกระบบให้ข้ามไปเพราะ public web site ไม่ต้องมี user ให้ทำแบบนี้ครับ

image

พอมาถึงหน้านี้ให้เลือกแบบผมครับ

image

ผ่านไปอีกหนึ่ง ต่อไปขั้นสุดท้ายละ

 

image

พอกดปุ๊บให้เลือกแบบนี้ครับ

ระวัง!!

สำหรับใครที่ใช้ บริการ exchange หรือว่า lync online  หน้านี้ต้องระวังนะครับ เพราะว่า ถ้าเราต้องการใช้อีเมล์ @domain.com เราจะไม่สามารถใช้ชื่อเว็บเป็น http://domain.com ได้ เราต้องใช้ชื่ออื่นๆแทนเช่น http://www.domain.com   (ขั้นตอนการใส่ domain)

image

หลังจาก ตกลงปลงใจแล้วก็ให้ กด Next

เราก็จะมาเจอหน้าที่บอกเกี่ยวกับวิธีการใช้งาน public facing website ให้ลองอ่านดูก่อนครับ

image

ในนั้นจะบอกด้วยว่า ทำเว็บให้ available online ได้ยังไง

image

จากนั้นระบบจะสอนให้เรา ไปเปลี่ยนชื่อเว็บ ของ public facing ใหม่ ซึ่งจาก ปกติ จะเป็น -public.sharepoint.com">-public.sharepoint.com">http://<tenant>-public.sharepoint.com

ให้กดผ่านไปเลย เด๋วผมจะมา เขียนไว้ตอนท้าย

image

หลังจากนั้นให้ ระบบจะบอกกับเราว่าให้ ไปเพิ่ม DNS นะ

image

 

คราวนี้ก็รอ 12-48 ชม เช่นเคย แล้วให้กลับเข้ามากด done, go check  ถ้าไม่มีอะไรผิดพลาด ควรจะได้หน้าจอแบบนี้ครับ

 

image

เพื่อให้แน่ใจ เมื่อเรากลับมาที่ หน้า Office 365 Admin Center แล้ว ไปที่ Domain เราควรเห็น Domain ที่เราจัดการ Active อยู่

 

image

 

คราวนี้กลับมาตอนที่เปลี่ยนชื่อ domain ของ public facing นิดนึง

จาก Topbar ด้านบนให้เราเลือก Admin แล้วก็ SharePoint

image

เราก็จะเห็น public facing ของเราให้ check box ที่หน้า url  -public.sharepoint.com">-public.sharepoint.com">http://<tenant>-public.sharepoint.com แล้ว เลือก WebSite Domains

image

เสร็จแล้วก็เลือก Domain ที่เรา setup เอาไว้

image

จบแล้วจร้า…..

 

ปล.  จริงๆ แล้ว public facing ของผมชี้ไปที่ http://online.sharepoint.in.th เพราะว่าผมต้องการใช้ @sharepoint.in.th กับ Exchange Online/ Lync Online แต่หน้าจอที่เห็นผมใช้เทคนิคนิดหน่อยครับ ฮิๆๆ

LinkedInFlipboardEmailOutlook.comPrintFriendlyWhatsAppYahoo BookmarksYahoo MessengerKindle ItGoogle BookmarksBaiduDeliciousShare

How to: Provision a Developer Site บน Office 365

 

สำคัญ: ก่อนอื่นจะต้องมี Office 365 ที่เป็น Enterprise ก่อนนะครับถ้ายังไม่มีแล้วอยากลอง ก็เชิญสมัครได้ที่ Sign up for an Office 365 Developer Site (ใช้งานได้ 30 วัน)

 

ที่ SharePoint Admin Center

image

เลือก Developer Site

image

 

เมื่อเสร็จแล้วจะได้หน้าตาแบบนี้ ให้คลิ๊กไปที่ Build an app

image

 

ถ้าเจอแบบนี้ไม่ต้องตกใจ ให้ไปเลือกภาษาที่มุมขวาบนครับ

image

พอเปลี่ยนภาษาแล้วจะเห็นแบบนี้ครับ กด ADD IT ได้เลย

image

กด Continue

image

ถ้าไม่ต้องการ Shopping App ตัวอื่นๆ ก็กด Return to site ได้เลยครับ

image

แล้วก็กด Trust it

image

แค่นี้เราก็พร้อมที่จะ พัฒนา App สำหรับ office 365 ได้แล้วครับ

image

 

อ้างอิงจาก http://msdn.microsoft.com/en-us/library/office/jj692554(v=office.15).aspx

LinkedInFlipboardEmailOutlook.comPrintFriendlyWhatsAppYahoo BookmarksYahoo MessengerKindle ItGoogle BookmarksBaiduDeliciousShare

Copy ค่าจาก List อื่นด้วย Workflow

ในบรรดาการทำงานของ workflow ที่เราใช้ๆกัน มี ทริกนึงที่น่าสนใจคือการเอา WorkFlow มาช่วยในการ หาค่า จาก List อื่นๆ มาใส่ใน List ที่รัน workflow ดูตัวอย่างเลย

Product Price list มีหน้าตาแบบนี้

image

Sales Order List ก็มีหน้าตาแบบนี้ required Field แค่สอง fields

image

แล้วเราก็มาสร้าง Workflow กันครับ ทำตามภาพได้เลย

image

พอกด Allow รอหนึ่งอึดใจก็จะได้หน้าตาแบบนี้ครับ

image

ใน Action ให้เราเลือก Set Field in Current Item  หรือจะพิมพ์เอาก็ได้คับ

image

Set Lookup Price เพื่อบอกกับ workflow ว่าให้ set ค่านี้

image

Data source ให้เลือก List ชื่อ ProductPriceList ที่เราเตรียมไว้ แล้วให้ return ค่า Price

image

เมื่อเลือกแล้ว หน้าตา Filter จะออกมาเป็นแบบนี้ ในส่วนของ Find the List item ให้เลือก filter Title (ของ ProductPriceList)

แล้ว Filter ด้วย Current item field ชื่อ Product

image

อันนี้ระบบจะเตือนเราในกรณีที่ ค่าที่ได้มีเกินหนึ่งค่า ระบบจะโยนค่าสุดท้ายมาให้แต่เรามั่นใจว่า ค่าที่ได้มีค่าเดียวแน่นอน

image

สุดท้าย workflow จะหน้าตาประมาณนี้ครับ

image

Save แล้วก็ Publish

image

อย่าลืมมาปรับค่าตรง Start Optionให้ workflow ทำงานตอนสร้าง (Created) และตอนเปลี่ยนแปลงด้วยคับ

image

ทดสอบ

ให้กลับมาที่ Sales order แล้ว new item กรอกข้อมูลแค่สอง fields พอ

image

แล้วกด Save ควรจะได้หน้าตาแบบนี้ครับ

image

รอแว๊บเดียว ก็จะได้ตามนี้  (ตรง Title สงสัยพิมพ์สูตรผิด แหะๆ) แต่เอาเป็นว่า ดึงราคามาถูก และ ฟังก์ชันการทำคำนวณถูก เป็นใช้ได้

image

ก็ประมาณนี้ครับ

สวัสดีครับ

LinkedInFlipboardEmailOutlook.comPrintFriendlyWhatsAppYahoo BookmarksYahoo MessengerKindle ItGoogle BookmarksBaiduDeliciousShare